ดร.ศุภกิจ ภักดีแสน

 

อาจารย์ประจำหลักสูตร

ตำแหน่งทางวิชาการ

อาจารย์

ตำแหน่งทางคณะสงฆ์

การศึกษา

พ.ศ. 2553 : พุทธศาสตรบัณฑิต (พธ.บ.) สาขาวิชารัฐศาสตร์ เอกการเมืองการปกครอง (เกียรตินิยมอันดับ 1) รุ่นที่ 55 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพฯ

พ.ศ. 2561 : นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อ.วังน้อย จ.อยุธยา ปริญญาโท พ.ศ. 2554 : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พธ.ม.) สาขารัฐประศาสนศาสตร์ รุ่นที่ 4 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพฯ ปริญญาเอก

พ.ศ. 2558 : พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พธ.ด.) สาขารัฐประศาสนศาสตร์ รุ่นที่ 1 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพฯ

พ.ศ. 2567 : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชารัฐศาสตร์ รุ่นที่ 5 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อ.วังน้อย จ.อยุธยา

งานคณะสงฆ์

ประวัติการทำงาน

พ.ศ. 2552-2553 : อาจารย์สอนนักธรรม-บาลี ประจำวัดสุทธาราม กรุงเทพฯ

พ.ศ. 2553-2558 : ครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

พ.ศ. 2558-2559 : ประธานหลักสูตร และอาจารย์ประจำหลักสูตรพุทธศาสตร มหาบัณฑิต (พธ.ม.) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่

พ.ศ. 2559-2560 : เลขานุการหลักสูตร และอาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต (รป.ม.) สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ มหาวิทยาลัย ราชภัฏธนบุรี กรุงเทพฯ

พ.ศ. 2559-2560 : ผู้ก่อตั้งชมรมพุทธศาสตร์ และประธานชมรมพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี กรุงเทพฯ

พ.ศ. 25561-2564 : ประธานหลักสูตร และอาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร บัณฑิต (รป.บ.) สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยวิทยบริการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัดจันทบุรี

พ.ศ. 25564-ปัจจุบัน : อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รป.บ.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย

งานวิจัย

ศุภกิจ ภักดีแสน. “ปัจจัยและกระบวนการสร้างหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบใน จังหวัดแพร่”

ปีงบประมาณ 2559, แหล่งทุน : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, สถานภาพ : ผู้ร่วมวิจัย. ศุภกิจ ภักดีแสน. “รูปแบบการดำเนินวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนริมน้ำ จันทบูร”

ปีงบประมาณ 2561, แหล่งทุน : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, สถานภาพ : หัวหน้าโครงการวิจัย. งานวิจัยเรื่องนี้ (ได้รับการคัดเลือกให้เป็น ผลงานวิจัยที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับ รางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่น ระดับ “ดี” ประจำปี 2563) ศุภกิจ ภักดีแสน. “การอยู่ร่วมกันในสังคมชีวิตวิถีใหม่ของชุมชนพหุวัฒนธรรมริมฝั่งแม่น้ำ จันทบูร อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี”

ปีงบประมาณ 2563, แหล่งทุน : สถาบันวิจัย พุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, สถานภาพ : ผู้ร่วมวิจัย. งานวิจัยเรื่องนี้ (ได้รับการคัดเลือกให้เป็น ผลงานวิจัยที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับ รางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่น ระดับ “ดี” ประจำปี 2564) ศุภกิจ ภักดีแสน. “รูปแบบการพัฒนาชุมชนสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสิ่ง แวดล้อมและการออกแบบจังหวัดหนองคาย”

ปีงบประมาณ 2565, แหล่งทุน : ส่วนงานมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย, สถานภาพ : ผู้ร่วมวิจัย. ศุภกิจ ภักดีแสน. “การพัฒนารูปแบบการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานของสำนักปฏิบัติ วิปัสสนากรรฐานในจังหวัดหนองคาย”

ปีงบประมาณ 2566, แหล่งทุน : ส่วนงาน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย, สถานภาพ : ผู้ ร่วมวิจัย.

บทความวิจัย/ทางวิชาการ

ศุภกิจ ภักดีแสน. “ปัจจัยและกระบวนการสร้างหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบใน จังหวัดแพร่”ปีงบประมาณ 2559, แหล่งทุน : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, สถานภาพ : ผู้ร่วมวิจัย. ศุภกิจ ภักดีแสน. “รูปแบบการดำเนินวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนริมน้ำ จันทบูร”

ปีงบประมาณ 2561, แหล่งทุน : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, สถานภาพ : หัวหน้าโครงการวิจัย. งานวิจัยเรื่องนี้ (ได้รับการคัดเลือกให้เป็น ผลงานวิจัยที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับ รางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่น ระดับ “ดี” ประจำปี 2563) ศุภกิจ ภักดีแสน. “การอยู่ร่วมกันในสังคมชีวิตวิถีใหม่ของชุมชนพหุวัฒนธรรมริมฝั่งแม่น้ำ จันทบูร อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี”

ปีงบประมาณ 2563, แหล่งทุน : สถาบันวิจัย พุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, สถานภาพ : ผู้ร่วมวิจัย. งานวิจัยเรื่องนี้ (ได้รับการคัดเลือกให้เป็น ผลงานวิจัยที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับ รางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่น ระดับ “ดี” ประจำปี 2564) ศุภกิจ ภักดีแสน. “รูปแบบการพัฒนาชุมชนสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสิ่ง แวดล้อมและการออกแบบจังหวัดหนองคาย”

ปีงบประมาณ 2565, แหล่งทุน : ส่วนงานมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย, สถานภาพ : ผู้ร่วมวิจัย. ศุภกิจ ภักดีแสน. “รูปแบบการจัดการทุนมนุษย์: กรอบแนวคิดของ Leonard Nadler” ใน วารสาร มจร อุบลปริทัศน์. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต อุบลราชธานี ปีที 7 ฉบับที่ 3

(กันยายน-ธันวาคม 2565). ศุภกิจ ภักดีแสน. “พุทธจริยศาสตร์ประยุกต์เพื่อบูรณาการต่อต้านการทุจริตเชิงนโยบาย ในจังหวัดอุดรธานี” ในวารสาร มจร สุรนารีสาร. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา ปีที ๑ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม 2566). ศุภกิจ ภักดีแสน. “กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในพื้นที่ จังหวัดสกลนคร” ในวารสาร มมร วิทยาเขตร้อยเอ็ด. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช วิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด ปีที 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2567). ศุภกิจ ภักดีแสน. “ปัจจัยที่มีอิทธิพลของระบอบการเมืองการปกครองที่มีผลต่อการดํา เนินชีวิตของประชาชนยุครัฐธรรมนูญ 2560 ในจังหวัดอุดรธานี” ในวารสาร เสฏฐ วิทย์ปริทัศน์ ปีที 14 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2567). ศุภกิจ ภักดีแสน. “วิวัฒนาการของผู้สูงอายุในยุคดิจิทัล” ใน Proceedings รายงาน สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 ภายใต้ หัวข้อ “เปลี่ยนพลังผู้สูงวัยเป็นกลไกขับเคลื่อน Soft Power อย่างยั่งยืน” วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (19 พฤษภาคม 2567 หน้า 41-55).

ตำราวิชาการ

เอกสารประกอบการสอน

งานที่ปรึกษาวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา

รางวัล/การได้รับเชิดชูเกียรติ / การศึกษาดูงาน

1. ผลงานวิจัยเรื่อง “รูปแบบการดำเนินวิถีชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนริม น้ำจันทบูร” ปีงบประมาณ 2561, แหล่งทุน : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, สถานภาพ : หัวหน้าโครงการวิจัย. งานวิจัยเรื่องนี้ (ได้ รับการคัดเลือกให้เป็น ผลงานวิจัยที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อรับรางวัลผลงานวิจัยระดับดี เด่น ระดับ “ดี” ประจำปี 2563)

2. ผลงานวิจัยเรื่อง “การอยู่ร่วมกันในสังคมชีวิตวิถีใหม่ของชุมชนพหุวัฒนธรรมริมฝั่ง แม่น้ำจันทบูร อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี” ปีงบประมาณ 2563, แหล่งทุน : สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, สถานภาพ : ผู้ ร่วมวิจัย. งานวิจัยเรื่องนี้ (ได้รับการคัดเลือกให้เป็น ผลงานวิจัยที่ผ่านการคัดเลือก เพื่อรับรางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่น ระดับ “ดี” ประจำปี 2564)

สมณศักดิ์

Back to top button