
ผศ.ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค
อาจารย์ประจำหลักสูตร
ตำแหน่งทางวิชาการ
พ.ศ. ๒๕๖๑ แต่งตั้งผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเศษ สาขาเศรษฐศาสตร์ คำสั่งเลขที่ ๙๗๘/๒๕๖๑ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ตำแหน่งทางคณะสงฆ์
–
การศึกษา
ปริญญาเอก พธ.ด. พุทธศาสตรดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๕.
ปริญญาโท รป.ม. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยทองสุข, ๒๕๕๕.
ปริญญาตรี นท.บ. นิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๓.
งานคณะสงฆ์
–
ประวัติการทำงาน
ปี ๒๕๕๕ เข้าทำงาน เป็นเจ้าหน้าที่บัณฑิตศึกษาวิทยาเขตหนองคาย
ปี ๒๕๕๗ เป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสสนศาสตร์ จนถึงปัจจุบัน
งานวิจัย
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “ นโยบายและกระบวนการพัฒนาเมืองสีเขียวจังหวัดอุดรธานี”, ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม, ๒๕๖๗.
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “ รูปแบบการพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วมเชิงพุทธของเทศบาลตำบลปะโค อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย”, ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย, ๒๕๖๖.
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “รูปแบบการพัฒนาชุมชนสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อมและการออกแบบจังหวัดหนองคาย”, ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย, ๒๕๖๕.
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “แนวทางการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่ชายแดนไทยตามนโยบายประชารัฐ”, ได้รับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๓.
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “ศึกษารูปแบบการปกครองของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชกับการสร้างความมั่นคงสองฝังโขง”, ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๖๒.
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “วิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของพระมหาเถระของไทยและลาว”, ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตหนองคาย, ๒๕๖๐.
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “ศึกษาความสัมพันธ์ความเชื่อเรื่องพิธีกรรมเจ้าแม่สองนางกับการส่งเสริมจริยธรรมทางสังคมของชุมชนริมฝั่งแม่น้ำโขงจังหวัดหนองคาย”, ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
บทความวิจัย/ทางวิชาการ
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “ภาวะผู้นำเชิงพุทธในการบริหารการศึกษายุคดิจิทัล”,วารสารพุทธศาสตร์ มจร อุบลราชธานี, ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖): ๒๒๕ – ๒๓๖.
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “วาทกรรมแลนสไลด์ในบริบททางการเมืองของไทย”, วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๔ (กรกฎาคม-สิงหาคม ๒๕๖๕): ๑๒๘-๑๓๙.
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “พระพุทธศาสนากับการบริหารทรัพยากรมนุษย์”, วารสารพุทธศาสตร์ มจร อุบลราชธานี, ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๕): ๔๙ – ๕๘.
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “รูปแบบการพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วมเชิงพุทธของเทศบาลตำบลปะโค อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย”,วารสารพุทธศาสตร์ มจร อุบลราชธานี, ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๔๖๗): ๑๐๑๓-๑๐๒๔.
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “รูปแบบการให้บริการสาธารณะด้านงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย”, วารสารปัญญาปณิธาน, ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๗): ๓๐๙-๓๒๒.
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค และคณะ, “รูปแบบการพัฒนาชุมชนสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมและการออกแบบจังหวัดหนองคาย”, วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๕):๒๓๘๘-๒๔๐๐.
ตำราวิชาการ
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค, ความรู้เรื่องเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์สำหรับบุคลทั่วไป, พิมพ์ครั้งที่ ๒. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา, ๒๕๖๓. (ISBN 978-616-423-932-6)
ผศ. ดร.อริย์ธัช เลิศรวมโชค, คู่มือ การจัดการนโยบายพื้นที่สีเขียวชุมชนเมืองอย่างยั่งยืน, อุดรธานี: ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ทรัพย์ภิญโญ, ๒๕๖๗. (ISBN 978-616-616-557-9)
เอกสารประกอบการสอน
–
งานที่ปรึกษาวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
–
รางวัล/การได้รับเชิดชูเกียรติ / การศึกษาดูงาน
–
สมณศักดิ์
–